ระบบวิเคราะห์ปัญหาด้วยตัวเอง ของเครื่องโตโยต้า EFI
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
W3Schools.com
ประสบการณ์งานซ่อม

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ผู้เขียน : Admin™
ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ



ความจริงแล้วระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงที่ควบคุมด้วยกล่องอีซียู ไม่ยากอย่างที่คิดเลย
เพราะอะไร
ถึงว่าไม่ยาก เพราะในระ บบ EFI ได้ออกแบบให้มีการตรวจเช็คข้อผิดพลาดของตัวมันเอง
ถ้าผิดปกติ จะแจ้งให้ผู้ใช้หรือช่างได้ทราบทันที ผ่านหลอดไฟเตือนที่เป็นรูปเครื่องยนต์ที่หน้าปัด

ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ


ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ


เราคงจะเข้าใจการทำงานของหลอดไฟเช็คเอนจิ้นในโหมดการเช็คหลอดกันดีแล้ว ทีนี้เรา
จะมาดูถ้าเกิดหลอดไฟดวงนี้ติดสว่างขึ้นมา ในขณะที่เครื่องยนต์ทำงานแล้วไม่ยอมดับ ดับเครื่องแล้วสตาร์ท
กันใหม่ก็ขึ้นมาอีก  ในเบื้องต้นอาจจะทดลองล้างหน่วยความจำของอีซียูดู ถ้าทำแล้วไฟเช็คเอนจิ้นยังคงติด
อยู่ แบบนี้แสดงว่าเกิดปัญหาขึ้นในระบบ EFI ของเราแล้ว

       แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่า ตัวตรวจจับตัวใดมีปัญหา งานนี้เราจะต้องมีการจั๊มขั้ว  เพื่อการอ่านโค๊ดกันแล้วล่ะ
ถ้าเป็นรถโตโยต้า รุ่นกลางกลางจนไปถึงรุ่นเก่า เราจะจั๊มขั้ว TE1 กับ E1 ที่กล่อง DIAGNOSIS ซึ่งกล่องนี้
จะอยู่ภายในห้องเครื่องยนต์บริเวณมุมโช๊คหน้าซ้าย

ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ


เมื่อเปิดฝาดูจเห็นว่าด้านในของฝา จะมีตารางบอกตำแหน่งของขั้วต่าง ๆ ชัดเจน
ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ
ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ



ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ


ให้จั๊ม (หรือช๊อตขั้ว) ระหว่างขา TE1 กับ  E1




ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ



หรือจั๊มแบบนี้ ใช้สายไฟธรรมดานี่เอง ปอกหัวท้าย แล้วงอจั๊มไประหว่างขั้ว TE1 กับ  E1

ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ



สังเกตุดีๆ จะเห็นขั้ว W ในกล่อง Diagnosis ซึ่งหมายถึงเป็นขั้วสายที่มาจากกล่อง ECU เป็นขั้วเอาไว้
ต่อผ่านหลอดไฟ เข้าที่ +B (ขั้วนี้เป็นไฟ 12V ไฟจะมาเมื่อเปิดสวิทช์กุญแจ) หลอดไฟดวง
นี้จะทำงาน
เหมือนกับไฟเช็คเอนจิ้นที่หน้าปัด (เพราะเราพ่วงกัน)


ลิ้งค์หัวข้อ: บ้านหรรษา ดอทคอม/topic/474

LikePost โดย 2 สมาชิก :
kveera   ไม่พบชื่อผู้ใช้: 3072!
สวัสดีครับคุณ ผู้เยี่ยมชม ร่วมสนับสนุน เว็ปบ้านหรรษา ดอทคอม ด้วยการสมัครสมาชิก VIP. สามารถโหลดข้อมูลได้ทั้งเวป   ;;tty; ;;tty;  ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ
คลิ๊กเลย
 

ผู้เขียน : Admin™
ในอดีตรหัสปัญหาจะมีน้อย ก็เลยใช้เป็นรหัสเดี่ยว หมายถึง นับจำนวนครั้งที่ไฟเช็คเอนจิ้นกระพริบ ว่ากระพริบกี่ครั้ง
เช่นกระพริบนับแล้วได้ 7 ครั้ง เราเรียกว่า รหัส 7  ต่อมามีตัวตรวจจับเพิ่มขึ้นหรือระบบรถเริ่มซับซ้อนขึ้น ก็พัฒนาเพิ่มมา
มีรหัสคู่ ปัจจุบันรหัสปัญหา จะเป็นรหัสคู่ คือ ต้องใช้สัญญาณไฟกระพริบ 2 ชุดมารวมกัน จะได้เป็น 1 รหัส
เช่น กระพริบ 2 ครั้ง แล้วเว้นวรรคสักหน่อย แล้วกระพริบอีก 2 ครั้ง เมื่อนำมารวมกันจะได้เป็น รหัส 22
ซึ่งหมายถึงมีปัญหาที่ สัญญาณเซนเซอร์อุณหภูมิน้ำหล่อเย็น ถ้าเริ่มกระพริบ 3 ครั้ง แล้วดับนานนิดหนึ่งแล้วกระพริบ
อีก 1 ครั้ง จะเป็นรหัส 31  ไปลองฝึกอ่านกันดู

ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ


การอ่านค่า ควรอ่านไปเรื่อยๆ จนกว่าจะหมดแล้วจะวนเริ่มต้นใหม่อีกเป็นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ
ดังนั้นเมื่อเราอ่านค่าและจดรหัสไว้ จนจดได้ซ้ำรหัสเดิม แสดงว่ารหัสปัญหาอ่านได้ครบแล้ว
เราก็นำรหัสที่ได้ไปเทียบในตารางด้านล่างว่า เป็นปัญหาที่จุดใด

ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ


ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ



ลิ้งค์หัวข้อ: บ้านหรรษา ดอทคอม/topic/474

สวัสดีครับคุณ ผู้เยี่ยมชม ร่วมสนับสนุน เว็ปบ้านหรรษา ดอทคอม ด้วยการสมัครสมาชิก VIP. สามารถโหลดข้อมูลได้ทั้งเวป   ;;tty; ;;tty;  ขออภัย! คุณไม่สามารถเห็นลิ้งค์ที่โพสต์นี้ได้ กรุณาสมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ
คลิ๊กเลย
 


 

ร่วมสนับสนุนเว็บ บ้านหรรษา ดอทคอม ด้วยการสมัครสมาชิก VIP. เพียง 500฿ ต่อปี